วันพฤหัสบดีที่ 30 เมษายน พ.ศ. 2558

หน้าหลัก


การใช้โปรแกรม ArcGis: ArcMap 10


จัดทำโดย

น.ส. กนกวรรณ สมคิด รหัส 54670077


น.ส. เบญจวรรณ เกตุอรุณโรจน์ รหัส 54670087


น.ส. จตุรพร วัฒนการ์มินทร์ รหัส 54670119


นาย ณัฐพงศ์ วัชรานุทัศน์ รหัส 54670122


น.ส. ภัชราภรณ์ เลี้ยงผ่องพันธ์ รหัส 54670128


น.ส. นิธิศา แซ่หลี รหัส 56670136




เสนอ


อาจารย์ ดร.ณรงค์ พลีรักษ์





รายงานนี้เป็นส่วนหนึ่งของรายวิชา 876214 ระบบสารสนเทศทางภูมิศาสตร์ 2 (Geographic Information System 2) ภาคการศึกษาที่ 2 ปีการศึกษา 2557



คณะภูมิสารสนเทศศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา

LAB 1 การปรับแก้ข้อมูล

เปิดชั้นข้อมูล KANCHANABURI สร้าง Folder ขึ้นมาใหม่ ในข้อมูล KANCHANABURI ตั้งชื่อว่า Test



จากนั้นเปิดข้อมูล PROVINCE เลือกข้อมูล PROVINCE ที่เป็นชั้นข้อมูล Polygon ขึ้นมา



จากนั้นทำการตรวจสอบค่าพิกัด โดยคลิกขวาที่ PROVINCE จากนั้นเลือก Properties จากนั้นจะขึ้นตาราง Layer Properties จากนั้นเลือก Source จากนั้นเช็คค่าพิกัดให้ถูกต้อง ค่าพิกัดของแผนที่นี้ คือ WGS_1984_UTM_Zone_47N จากนั้นคลิก OK



จากนั้นเราะสร้าง ShapeFile แบบจุด (Point) แบบเส้น (Line) แบบโพลิกอน (Polygon) โดยการสร้าง ShapeFile ที่เราสร้างไว้ (Test) โดยคลิกขวาที่ Test จากนั้นเลือก New และไปที่ ShapeFile เมื่อทำการเลือก New ShapeFile แล้วจะขึ้นหน้าต่าง Create New ShapeFile



หน้าต่าง Create New ShapeFile ให้ตั้งชื่อว่า Point ตรง Feature Type ให้เลือกเป็น Point



จากนั้นเลือกตั้งค่าพิกัด โดยตั้งค่าที่ Edit จากนั้นเลือก Select ค่าพิกัดจะเป็น WGS_1984_UTM_Zone_47N จากนั้นกด OK



จากนั้นสร้าง Shapefile แบบเส้น (Polyline) คลิกขวาที่ Test เลือก New และไปที่ ShapeFile เมื่อทำการเลือก New ShapeFile จากนั้นจะมีหน้าต่าง Create New ShapeFile ให้ตั้งชื่อว่า Line และ Feature Type ให้เปลี่ยนเป็น Polyline จากนั้นตั้งค่าให้เป็นพิกัด WGS_1984_UTM_Zone_47N  จากนั้น OK



จากนั้นสร้าง ShapeFile แบบโพลิกอน (Polygon) คลิกขวาที่ Test เลือก New และไปที่ ShapeFile เมื่อทำการเลือก New ShapeFile จากนั้นจะมีหน้าต่าง Create New ShapeFile ให้ตั้งชื่อว่า Polygon และ Feature Type เปลี่ยนเป็น Polygon จากนั้นตั้งค่าพิกัดเป็น WGS_1984_UTM_Zone_47N  จากนั้น OK



จากนั้นทำการสร้าง จุด เส้น และโพลิกอน โดยไปที่ Editor จากนั้นไปที่ Stat Editing



จากนั้นทำการสร้างจุด โดยเลือก Point จากนั้น OK และทำการสร้างจุด โดยให้กำหนดจุดลงบนแผนที่



จากนั้นทำการสร้าง เส้น โดยลากเส้นลงบนแผนที่



จากนั้นทำการสร้าง โพลิกอน ลงบนแผนที่



แถบเครื่องมือ Snapping ตัวแรก Point Snapping เป็นการช่วยให้เข้าจุดได้ง่ายขึ้น



End Snapping



Vertex Snapping ทำให้ข้อมูลชิดติดกับมุม



Edge Snapping ทำให้ข้อมูล จุด เส้น และโพลิกอน ชิดติดกัน



จากนั้นไปที่ Arc Toolbox ไปที่ Editing Tools จากนั้นเลือก Trim Line Input Features เลือก Line Dargth Length เปลี่ยนเป็น 500 หน่วย Kilometers จากนั้น OK



จากนั้นเส้นที่เราทำการ Trim Line จะโดนตัดไป



การทำ Split ไปที่ Editor เลือก Split Tool จากนั้นคลิกที่เส้นที่เราต้องการทำการ Split ทำการตัด Polygon ไปที่ Out Polygon Tools จากนั้นตัด Polygon ที่ต้องการ



 การย้าย Polygon ให้ไปที่ Rotate Tool จากนั้นทำการย้ายข้อมูล



การเลื่อนมุมของ Polygon โดยการคลิกขวาที่ Polygon จากนั้นเลือก Edit Vertices จากนั้นทำการย้ายมุม Polygon



การใช้ขอบร่วม เลือกการสร้าง Polygon แบบ Auto จากนั้นให้เลือก Polygon Construction Tools ให้เลือก Auto Complete Polygon จากนั้นสร้าง Polygon




วิดิโอแสดงวิธีการทำ




LAB 2 การสร้างความสัมพันธ์ระหว่างตาราง

การ join

เปิดโปแกรม Arcmap10 ขึ้นมา





ไปที่ชั้นข้อมูล Prachinburi เลือก SOIL_GRP (เป็นชั้นข้อมูลดินของปราจีนบุรี)




เปิดตาราง ให้คลิกขวาที่ชั้นข้อมูล SOIL_GRP เลือก Open Attribute




ก็จะได้ตารางข้อมูลดังภาพ




ลากไฟล์ SOILCODE.dbf เข้ามา แล้วคลิกขวา Open Attribute ขึ้นมา




เปรียบเทียบตารางระหว่าง SOILCODE กับ SOIL_GRP ว่าเป็นความสัมพันธ์แบบใด ในที่นี้เป็นความสัมพันธ์แบบ 1:1 จึงเลือก SOIL_GRP เป็นตารางตั้งต้น




ไปที่ Table Options เลือก Join and Relates แล้วเลือก Jion




จะมีหน้าต่าวขึ้นมาคือ Jion Data




ตรงข้อ 1. เลือกเป็น SOIL_ID
            2. เลือกเป็น SOILCODE
            3. เลือกเป็น SOIL_ID จากนั้นกด OK




จะได้ตารางที่ทำการรวมเสร็จเรียบร้อยแล้ว หากต้องการบันทึกข้อมูลให้ทำการ SAVE หรือ Export เข้าไป





คลิกขวาที่ SOIL_GRP เลือก Data และ Export Data




จะมีหน้าต่าง Export Data เลือกที่เก็บแล้วตั้งชื่อ แล้วกด OK




การลบตาราง

เมื่อทำการ Join แล้วต้องการที่จะลบให้ไปที่ตาราง SOIL_GRP เลือก Table Options เลือก Join and Relates เลือก Remove Join แล้วเลือก SOIL_CODE




ก็จะได้ตารางแบบเดิมที่ไม่มีการ Join




การ Relate  

ไปที่ Folder เลือก RTArcGIS เลือก Lab05 เปิดไฟล์ AMPHOE.shp




จากนั้นเปิดตาราง AMPHOE คลิกขวาเลือก Open Attribute ขึ้นมา




จากนั้นลากไฟล์ Village_Relate.cpg แล้วเปิดตาราง Attribute เพื่อที่จะทำการเชื่อมตรารง




จากนั้นเราจะทำการรวมตาราง ดูความสัมพันว่าเป็นแบบใด ในที่นี้เป็นความสัมพันธ์แบบ 1:กลุ่ม ใช้ตารางของ AMPHOE เป็นตารางตั้งต้น จากนั้นไปที่ Table Options เลือก Join and Relates แล้วเลือก Relates




จะมีหน้าต่าง Relates ขึ้นมาให้ใส่ข้อมูล




ตรงข้อ 1. เลือกเป็น AMP_CODE
            2. เลือกเป็น Village_Relate
            3. เลือกเป็น AMP_CODE จากนั้นกด OK




ก็จะได้ตารางที่ทำการ Relate แล้ว
การ Relate ไม่เหมือนการ Join ที่ผลลัพธ์จะโชว์ขึ้นมาเลย แต่ Relate จะต้องมีวิธีการดูคือ คลิกให้ขึ้นไฮไลดสีฟ้า แล้วไปที่ Table Options เลือก Relates Tables เลือก Relates:Village_Relates





จากนั้นก้จะแสดงข้อมูลหมู่บ้านของอำเภอที่เราเลือก




การลบตาราง

ไปที่ Table Options เลือก Join and Relates เลือก Remove Relates แล้วเลือก Relates 1





การคำนาณสถิติเบื้องต้นแบบง่าย 

เปิด Open Attribute ของชั้นข้อมูล AMPHOE เลือกฟิว AREA เลือก Statistics




จะได้หน้าต่าง Statistics of AMPHOE




การสร้างกราฟ

ไปที่ View เลือก Graphs เลือก Create 




จะมีตาราง Create Graph Wizard

ช่องแรกคือประเภทของกราฟเลือก Vertical Bar 

ช่องสองเลือกเป็น AMPHOE

ช่องสามเลือก AREA (ต้องเลือกข้อมูลที่เป็นตัวเลข) จากนั้นกด Next




ตรง Title เปลี่ยนชื่อเป็น แผนภูมิพื้นที่ของจังหวัดปราจีนบุรี

      Title อันที่สองเปลี่ยนเป็น คำอธิบาย

      Position เลือกตามต้องการ จากนั้นกด Finish




จะได้หน้าต่างขึ้นมา




คลิกขวาที่กราฟเลือก Advanced Properties จะมีหน้าต่าง Editing ขึ้นมาดังรูป จากนั้นเลือก Title เลือก Text แล้วเปลี่ยนภาษา สี และไซด์ ตามต้องการ จากนั้นเลือก Axis เลือก Left Axis เลือก Title เลือก style เปลี่ยน Title เป็นพื้นที่




ก็จะได้แผนภูมิดังภาพ หากต้องการปรับเปลี่ยนรูปทรงกราฟ คลิกขวาที่กราฟ เลือก Properties เลือก Bar Style แล้วเลือกตามต้องการ




หากต้องการปรับเปลี่ยนรูปทรงกราฟ คลิกขวาที่กราฟ เลือก Properties เลือก Bar Style แล้วเลือกตามต้องการ จะได้รูปทรงกราฟดังรูป




การทำ Report

ไปที่ View เลือก Report เลือก Create Reports จะได้หน้าต่าง Report Wizard เลือก PROV_NAME,AMP_NAME,AREA ตามลำดับ แล้วกด  Next




จะได้หน้าต่างขึ้นมา เลือกอันไหนเป็นหัวข้อใหญ่ให้คลิกอันนั้นเป็นอันดับแรก แล้วกด Next ดังรูป




จะมีหน้าต่างขึ้นมา ตรง Fields เลือก AMP_NAME และ AREA ตรง Sort เลือก Ascending (คือเรียงจากน้อยไปมาก)ทั้งสองอัน แล้วกด Next




รูปแบบ Layout เลือกแล้วกด Next ต่อไปเปลี่ยนสีและภาษา แล้วกด Next จะมีหน้าต่างขึ้นมาให้ใส่ชื่อแล้วกด Finish




จะได้หน้าต่าง Report Designer




หากต้องการเปลี่ยนสีให้ไปที่ Edit จะมีหน้าต่างดังภาพ ทำการเปลี่ยน เมื่อปรับแต่งเสร็จแล้วกด Run Report หรือ F5 เพื่อแสดงผล แล้ว Save




หากต้องการให้ Report เข้ามาอยู่ในแผนที่ให้เลือก Save เป็น Add report to ArcMap Layout แล้วกด 

OK 




ตัว Report ก็จะเข้ามาอยู่ในแผนที่ ดังภาพ



วิดิโอแสดงวิธีการทำ